3.05.2557
วิธีตัดช้อยระดับ Basic
มีคำกล่าวว่า การทำข้อสอบช้อยส์ ไม่สามารถวัดอะไรได้มากมายนัก อันนี้คือเรื่องจริงในระดับหนึ่ง เพราะว่าการออกข้อสอบช้อยส์ มีจุดที่ทำให้ผู้สอบ สามารถหาวิธีที่ทำให้ได้คะแนนมากขึ้นทั้งที่อาจจะไม่ได้รู้มากกว่า
และนี่คือการตัดช้อยส์ แบบ Basic
กฎพื้นฐานเลย คือ อาจารย์ส่วนมาก จะพยายามเกลี่ยคำตอบให้เท่ากัน มี20ข้อ ก็มักจะมีคำตอบก ข ค ง อย่างละ 5 ข้อ
(ถ้าคุณรู้ว่าอาจารย์คุณเป็นกลุ่มอาร์ทๆ แนวๆ แนะนำว่าให้ข้ามบทความนี้ไปเลย)
ขั้นตอน
1. ทำข้อสอบไปตามปกติ อันไหนที่ทำแล้วมั่นใจว่าถูกต้อง ชัวร์ 100% ให้เลือกคำตอบนั้นไปเลย
ในที่นี้ คำตอบที่มั่นใจว่าถูกต้องแน่นอนกาด้วยสีดำ
2.สำหรับข้อที่ทำไม่ได้ ตัดช้อยส์ที่เป็นไปไม่ได้ออกไปให้มากที่สุด ซึ่งแบ่งได้เป็นหลายกรณีคือ
- กูไม่รู้เชี่ยไรเลยของโจทย์ข้อนี้ (สี่ชมพู) โอกาสมั่วถูกคือ 25%
- กูไม่รู้ว่าจะตอบอะไร แต่ที่แน่ๆมีช้อยนึงหลอกกันชัดๆ (สีส้ม) โอกาสมั่วถูก 33%
- เชี่ย! คำตอบไม่ช้อยนี้ก็ช้อยนี้ว่ะ (สีเหลือง) โอกาสมั่วถูก 50%
3. คำนวณก่อนว่าสถานการณ์เป็นใจพอที่จะมั่วหรือไม่
อย่างถ้าอาจารย์ตัดเกรดตกที่ 60% (ต้องถูก 12ข้อ)
กรณีนี้ มีข้อที่ถูกแน่ๆ 50% (10ข้อสีดำ)
ที่เหลืออีก 10 ข้อ ถ้าเรามั่วแบบไร้หลักการ(โอกาสถูก 25%) เราจะถูก 2-3 ข้อ อย่างนี้มีโอกาสผ่าน
แต่ถ้าเริ่มต้นมาเราทำได้แค่ 8 ข้อ ... แนะนำว่าให้ทำใหม่จนกว่าจะได้อย่างน้อย10ข้อ เพื่อการันตีโอกาสไม่ตก
4.นับว่าช่องที่เรามั่นใจ ช้อยแต่ละตัว ตอบไปแล้วแค่ไหน
กรณีตามภาพ
ก. 4 ข. 2 ค. 3 ง. ไม่มีเลย
ข้อที่ถูกตอบน้อยที่สุด .... เราเรียกมันว่า "ช้อยส์อันดับหนึ่ง" ในที่นี้คือช้อยส์ ง.
ข้อที่ถูกตอบน้อยรองลงมา .... เราเรียกมันว่า "ช้อยส์อันดับสอง"ในที่นี้คือช้อยส์ ข.
5.1 กาช้อยส์อันดับหนึ่งให้เต็มโควต้าก่อน
จะเห็นว่าช่อง ง. เราตอบไปน้อยที่สุด ... ซึ่งตามหลัก ถ้าอาจารย์ที่ออกข้อสอบออกตามปกติ หากเรามั่วข้อ ง. เราจะมีโอกาสได้อีก 5 คะแนน
โดยในที่นี้ ข้อที่เรากาได้ คือ 2 , 5 , 11 ,14 ,18 เพราะมีข้อ ง. เป็นข้อที่เป็นไปได้
อย่าไปมั่วในข้อที่เรารู้ว่า ง. เป็นคำตอบที่ผิด
5.2กาอันที่เหลือในช้อยส์อันดับสอง
ในที่นี้คือ ข. ก็กาลงไป ในข้อ 8 , 13 , 17
5.3 กาอันที่เหลือในช้อยส์อันดับ 3 คือ ค.
ในที่นี้คือข้อ 10 , 16
พอดีตัวอย่างที่ยกมาคือมีแค่ 20 ข้อ อาจจะเห็นความแตกต่างไม่มาก
แต่ถ้าใช้กับโจทย์ที่มีระดับ 100 ข้อ และมี5ช้อยส์ ผลที่ได้จะเห็นชัดขึ้น
คำเตือน ใช้ไม่ได้กับข้อสอบระดับมหาวิทยาลัยที่บางแห่งrandomคำตอบในกระดาษด้วยคอมพิวเตอร์
และใช้ไม่ได้กับอาจารย์บางท่าน ที่บางครั้งอาร์ทมาก ... ออกข้อ ก. อย่างเดียว50ข้อ
คำเตือน มีแบบ IntermediateและAdvance แต่ผมว่าตั้งใจเรียนอ่านหนังสือและทำโจทย์มากๆเอาจะง่ายกว่า
และนี่คือการตัดช้อยส์ แบบ Basic
กฎพื้นฐานเลย คือ อาจารย์ส่วนมาก จะพยายามเกลี่ยคำตอบให้เท่ากัน มี20ข้อ ก็มักจะมีคำตอบก ข ค ง อย่างละ 5 ข้อ
(ถ้าคุณรู้ว่าอาจารย์คุณเป็นกลุ่มอาร์ทๆ แนวๆ แนะนำว่าให้ข้ามบทความนี้ไปเลย)
ขั้นตอน
1. ทำข้อสอบไปตามปกติ อันไหนที่ทำแล้วมั่นใจว่าถูกต้อง ชัวร์ 100% ให้เลือกคำตอบนั้นไปเลย
ในที่นี้ คำตอบที่มั่นใจว่าถูกต้องแน่นอนกาด้วยสีดำ
2.สำหรับข้อที่ทำไม่ได้ ตัดช้อยส์ที่เป็นไปไม่ได้ออกไปให้มากที่สุด ซึ่งแบ่งได้เป็นหลายกรณีคือ
- กูไม่รู้เชี่ยไรเลยของโจทย์ข้อนี้ (สี่ชมพู) โอกาสมั่วถูกคือ 25%
- กูไม่รู้ว่าจะตอบอะไร แต่ที่แน่ๆมีช้อยนึงหลอกกันชัดๆ (สีส้ม) โอกาสมั่วถูก 33%
- เชี่ย! คำตอบไม่ช้อยนี้ก็ช้อยนี้ว่ะ (สีเหลือง) โอกาสมั่วถูก 50%
3. คำนวณก่อนว่าสถานการณ์เป็นใจพอที่จะมั่วหรือไม่
อย่างถ้าอาจารย์ตัดเกรดตกที่ 60% (ต้องถูก 12ข้อ)
กรณีนี้ มีข้อที่ถูกแน่ๆ 50% (10ข้อสีดำ)
ที่เหลืออีก 10 ข้อ ถ้าเรามั่วแบบไร้หลักการ(โอกาสถูก 25%) เราจะถูก 2-3 ข้อ อย่างนี้มีโอกาสผ่าน
แต่ถ้าเริ่มต้นมาเราทำได้แค่ 8 ข้อ ... แนะนำว่าให้ทำใหม่จนกว่าจะได้อย่างน้อย10ข้อ เพื่อการันตีโอกาสไม่ตก
4.นับว่าช่องที่เรามั่นใจ ช้อยแต่ละตัว ตอบไปแล้วแค่ไหน
กรณีตามภาพ
ก. 4 ข. 2 ค. 3 ง. ไม่มีเลย
ข้อที่ถูกตอบน้อยที่สุด .... เราเรียกมันว่า "ช้อยส์อันดับหนึ่ง" ในที่นี้คือช้อยส์ ง.
ข้อที่ถูกตอบน้อยรองลงมา .... เราเรียกมันว่า "ช้อยส์อันดับสอง"ในที่นี้คือช้อยส์ ข.
5.1 กาช้อยส์อันดับหนึ่งให้เต็มโควต้าก่อน
จะเห็นว่าช่อง ง. เราตอบไปน้อยที่สุด ... ซึ่งตามหลัก ถ้าอาจารย์ที่ออกข้อสอบออกตามปกติ หากเรามั่วข้อ ง. เราจะมีโอกาสได้อีก 5 คะแนน
โดยในที่นี้ ข้อที่เรากาได้ คือ 2 , 5 , 11 ,14 ,18 เพราะมีข้อ ง. เป็นข้อที่เป็นไปได้
อย่าไปมั่วในข้อที่เรารู้ว่า ง. เป็นคำตอบที่ผิด
5.2กาอันที่เหลือในช้อยส์อันดับสอง
ในที่นี้คือ ข. ก็กาลงไป ในข้อ 8 , 13 , 17
5.3 กาอันที่เหลือในช้อยส์อันดับ 3 คือ ค.
ในที่นี้คือข้อ 10 , 16
พอดีตัวอย่างที่ยกมาคือมีแค่ 20 ข้อ อาจจะเห็นความแตกต่างไม่มาก
แต่ถ้าใช้กับโจทย์ที่มีระดับ 100 ข้อ และมี5ช้อยส์ ผลที่ได้จะเห็นชัดขึ้น
คำเตือน ใช้ไม่ได้กับข้อสอบระดับมหาวิทยาลัยที่บางแห่งrandomคำตอบในกระดาษด้วยคอมพิวเตอร์
และใช้ไม่ได้กับอาจารย์บางท่าน ที่บางครั้งอาร์ทมาก ... ออกข้อ ก. อย่างเดียว50ข้อ
คำเตือน มีแบบ IntermediateและAdvance แต่ผมว่าตั้งใจเรียนอ่านหนังสือและทำโจทย์มากๆเอาจะง่ายกว่า