9.24.2554
รับตรง คณะศิลปกรรมศาสตร์ ม.ขอนแก่น
1. ชื่อโครงการ : การรับสมัครสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษา คณะศิลปกรรมศาสตร์ โดยวิธีพิเศษ
(คณะดำเนินการเปิดรับเอง)
2. หลักสูตร/สาขาวิชา : ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์
3. จานวนรับเข้าศึกษา : 60 คน
4. คุณสมบัติของผู้สมัคร :
. เป็นผู้ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
. เป็นบุคคลที่อยู่ในประเทศไทยโดยถูกต้องตามกฎหมาย
. เป็นนักเรียนที่กาลังเรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม.6) หรือนักเรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 (ปวช.3) ในโรงเรียน/วิทยาลัยต่างๆ
(คณะดำเนินการเปิดรับเอง)
2. หลักสูตร/สาขาวิชา : ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์
3. จานวนรับเข้าศึกษา : 60 คน
4. คุณสมบัติของผู้สมัคร :
. เป็นผู้ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
. เป็นบุคคลที่อยู่ในประเทศไทยโดยถูกต้องตามกฎหมาย
. เป็นนักเรียนที่กาลังเรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม.6) หรือนักเรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 (ปวช.3) ในโรงเรียน/วิทยาลัยต่างๆ
5. กาหนดการรับสมัคร
ประมาณเดือนตุลาคม 2554-มกราคม 2555
6. สถานที่รับสมัคร
ณ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประมาณเดือนตุลาคม 2554-มกราคม 2555
6. สถานที่รับสมัคร
ณ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เว็บไซต์หลัก http://fa.kku.ac.th/
หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ มีวิชาเอกต่าง ๆ จานวน 4 วิชาเอก ได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม เครื่องเคลือบดินเผา ภาพพิมพ์ โดยที่นักศึกษาจะเลือกเรียนวิชาเอกในชั้นปีที่ 2
ขอบข่ายและเนื้อหาของแต่ละวิชาเอกที่ศึกษา
1. วิชาเอกจิตรกรรม ศึกษา ทดลอง ปฏิบัติการสร้างผลงานจิตรกรรม เรียนรู้คุณสมบัติ เทคนิคขั้นพื้นฐาน ในการเขียนภาพหุ่นนิ่ง ภาพคนและภาพทิวทัศน์ โดยใช้เทคนิคสีน้าและสีน้ามัน นาไปสู่กระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามที่หัวข้อกาหนดไว้ รวมถึงสามารถเขียนอธิบายวิธีคิด รูปแบบ แนวคิด ทฤษฎี เทคนิคและวิธีการสร้างสรรค์และแก้ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงานของตนได้อย่างเป็นระบบ
2. วิชาเอกประติมากรรม ศึกษาโครงสร้าง สัดส่วนของรูปทรงมนุษย์ทั้งชายและหญิงในแต่ละช่วงวัย ในแบบนูนต่า นูนสูง และลอยตัวเน้นความเหมือนต้นแบบบุคคลจริงและศึกษาขั้นตอนกระบวนการการสร้างสรรค์เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์ทัศนธาตุในงานศิลปะประติมากรรมเพื่อไปสู่การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามที่หัวข้อกาหนดไว้ รวมถึงสามารถเขียนอธิบายวิธีคิด รูปแบบ แนวคิด ทฤษฎี เทคนิคและวิธีการสร้างสรรค์และแก้ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงานของตนได้อย่างเป็นระบบ
3. วิชาเอกเครื่องเคลือบดินเผา ศึกษาและปฏิบัติการสร้างรูปทรงทางศิลปหัตถกรรมเครื่องเคลือบดินเผาตามหัวข้อที่กาหนด ศึกษาเกี่ยวกับอุปกรณ์ วัตถุดิบ และเคลือบ ฝึกปฏิบัติการเคลือบและเผาผลงานศิลปหัตถกรรมเครื่องเคลือบดินเผา เพื่อนาไปสู่การสร้างสรรค์ รวมถึงสามารถเขียนอธิบายวิธีคิด รูปแบบ แนวคิด ทฤษฎี เทคนิค วิธีการสร้างสรรค์ และแก้ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงานของตนได้อย่างเป็นระบบ
4. วิชาเอกภาพพิมพ์ ศึกษาและปฏิบัติงานภาพพิมพ์แกะไม้ (Woodcut) ภาพพิมพ์ร่องลึก (Intaglio) ภาพพิมพ์สกรีน (Screen Printing) และภาพพิมพ์พื้นราบ (Lithography) เพื่อนาคุณลักษณะพิเศษมาสร้างสรรค์ ให้สอดคล้องกันระหว่างความคิดและรูปแบบในการแสดงออก การนาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ รวมถึงการสร้างสรรค์ผลงานที่เป็น 2 มิติและ 3 มิติ รวมถึงสามารถเขียนอธิบายวิธีคิด รูปแบบ แนวคิด ทฤษฎี เทคนิคและวิธีการสร้างสรรค์และแก้ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงานของตนได้อย่างเป็นระบบ
ขอบข่ายและเนื้อหาของแต่ละวิชาเอกที่ศึกษา
1. วิชาเอกจิตรกรรม ศึกษา ทดลอง ปฏิบัติการสร้างผลงานจิตรกรรม เรียนรู้คุณสมบัติ เทคนิคขั้นพื้นฐาน ในการเขียนภาพหุ่นนิ่ง ภาพคนและภาพทิวทัศน์ โดยใช้เทคนิคสีน้าและสีน้ามัน นาไปสู่กระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามที่หัวข้อกาหนดไว้ รวมถึงสามารถเขียนอธิบายวิธีคิด รูปแบบ แนวคิด ทฤษฎี เทคนิคและวิธีการสร้างสรรค์และแก้ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงานของตนได้อย่างเป็นระบบ
2. วิชาเอกประติมากรรม ศึกษาโครงสร้าง สัดส่วนของรูปทรงมนุษย์ทั้งชายและหญิงในแต่ละช่วงวัย ในแบบนูนต่า นูนสูง และลอยตัวเน้นความเหมือนต้นแบบบุคคลจริงและศึกษาขั้นตอนกระบวนการการสร้างสรรค์เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์ทัศนธาตุในงานศิลปะประติมากรรมเพื่อไปสู่การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามที่หัวข้อกาหนดไว้ รวมถึงสามารถเขียนอธิบายวิธีคิด รูปแบบ แนวคิด ทฤษฎี เทคนิคและวิธีการสร้างสรรค์และแก้ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงานของตนได้อย่างเป็นระบบ
3. วิชาเอกเครื่องเคลือบดินเผา ศึกษาและปฏิบัติการสร้างรูปทรงทางศิลปหัตถกรรมเครื่องเคลือบดินเผาตามหัวข้อที่กาหนด ศึกษาเกี่ยวกับอุปกรณ์ วัตถุดิบ และเคลือบ ฝึกปฏิบัติการเคลือบและเผาผลงานศิลปหัตถกรรมเครื่องเคลือบดินเผา เพื่อนาไปสู่การสร้างสรรค์ รวมถึงสามารถเขียนอธิบายวิธีคิด รูปแบบ แนวคิด ทฤษฎี เทคนิค วิธีการสร้างสรรค์ และแก้ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงานของตนได้อย่างเป็นระบบ
4. วิชาเอกภาพพิมพ์ ศึกษาและปฏิบัติงานภาพพิมพ์แกะไม้ (Woodcut) ภาพพิมพ์ร่องลึก (Intaglio) ภาพพิมพ์สกรีน (Screen Printing) และภาพพิมพ์พื้นราบ (Lithography) เพื่อนาคุณลักษณะพิเศษมาสร้างสรรค์ ให้สอดคล้องกันระหว่างความคิดและรูปแบบในการแสดงออก การนาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ รวมถึงการสร้างสรรค์ผลงานที่เป็น 2 มิติและ 3 มิติ รวมถึงสามารถเขียนอธิบายวิธีคิด รูปแบบ แนวคิด ทฤษฎี เทคนิคและวิธีการสร้างสรรค์และแก้ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงานของตนได้อย่างเป็นระบบ