3.31.2555
สรุป แนวโน้มคะแนน Admissions ปี 2555
สรุปภาพรวม Admissions 2555 30/3/2012
Update ข้อมูลหลังจากที่ได้ดู GAT-PAT , ONET ครบทุกรอบแล้ว
Update ข้อมูลหลังจากที่ได้ดู GAT-PAT , ONET ครบทุกรอบแล้ว
การเลือกคณะควรอยู่บนพื้นฐานของความไม่ประหมาด อะไรก็เกิดขึ้นได้
วิทยาศาสตร์ สุขภาพ PAT2 20% คะแนนลดลง 0-400
วิทยาศาสตร์ สุขภาพ PAT2 30% คะแนนลดลง 100-550
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนลดลง 300-2000+ ( ดูปี 53-54 แล้วรู้ว่าขึ้นแรง ลงก็น่าจะแรง )
เทคโนโลยีสารสนเทศ GAT 50% คะแนนทรงตัว
เกษตรศาสตร์ คะแนนลดลง 350-700+
วิศวกรรมศาสตร์ คะแนนลดลง 500-2000 ( หลายสาขาน่าจะต่ำกว่าปี 53 นะ )
บริหารธุรกิจ คะแนนลดลง 100-400
คุรุศาสตร์ คะแนนเพิ่มขึ้น 500-1500+
สถาปัตย์ พอพอกับปีก่อน
ศิลปกรรมศาสตร์ คะแนนเพิ่มขึ่น 600+
มนุษยศาสตร์ gat 50% คะแนนใกล้เคียงกับปีก่อน
มนุษยศาสตร์ gat PAT71 คะแนนใกล้เคียงกับปี่ก่อนค่อนไปทางลดลง
มนุษยศาสตร์ gat PAT7 คะแนนทรงตัว ( pat7 คนได้คะแนนไม่ต่างจากปีก่อน)
วิทยาศาสตร์ สุขภาพ PAT2 30% คะแนนลดลง 100-550
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนลดลง 300-2000+ ( ดูปี 53-54 แล้วรู้ว่าขึ้นแรง ลงก็น่าจะแรง )
เทคโนโลยีสารสนเทศ GAT 50% คะแนนทรงตัว
เกษตรศาสตร์ คะแนนลดลง 350-700+
วิศวกรรมศาสตร์ คะแนนลดลง 500-2000 ( หลายสาขาน่าจะต่ำกว่าปี 53 นะ )
บริหารธุรกิจ คะแนนลดลง 100-400
คุรุศาสตร์ คะแนนเพิ่มขึ้น 500-1500+
สถาปัตย์ พอพอกับปีก่อน
ศิลปกรรมศาสตร์ คะแนนเพิ่มขึ่น 600+
มนุษยศาสตร์ gat 50% คะแนนใกล้เคียงกับปีก่อน
มนุษยศาสตร์ gat PAT71 คะแนนใกล้เคียงกับปี่ก่อนค่อนไปทางลดลง
มนุษยศาสตร์ gat PAT7 คะแนนทรงตัว ( pat7 คนได้คะแนนไม่ต่างจากปีก่อน)
คำเตือน ทุกๆ ปีจะมีทั้งสาขาที่มีคะแนนเพิ่มและลงอยู่แล้วนะครับ เพราะมีปัจจัยอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับคะแนน นั่นก็คือพฤติกรรมการเลือกคณะ โดยจะส่งผลให้คะแนนใน คณะ สาขา นั้นๆ ขึ้นลงกว่าที่ควรจะเป็น ดังนั้นควรใช้สถิติและวิจารณญาณอย่างรอบคอบ
และอีกปัจจัยนึง คือ จำนวนคนรับสมัคร นะครับ อย่างปีนี้จุฬาหลายคณะรับน้อยลงเยอะ เช่น วิศวะ บัญชี บริหาร ยังไงก็คอยชม ระเบียบการฉบับจริง
* วิทยาศาสตร์ เป็นคณะที่มีคะแนนเปลี่ยนแปลงสูงมากครับ บางคณะขึ้นที 3-4 พัน ปีนี้ก็น่าเช่นกัน บางคณะจะลงแรงมาก แต่บางคณะพุ่งสวนแน่ ให้ดูข้อมูลเปรียเทียบ ปี 54 กับ 53 เยอะ ๆ ๆ
3.30.2555
เปิดปฎิทินแอดมิชชั่นกลาง ปี 55
วันนี้ (24 มี.ค.) ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ในฐานะประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) เปิดเผยว่า ในการรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาสถาบันอุดมศึกษาในระบบกลางการรับนิสิตนักศึกษาหรือแอดมิชชั่นกลาง ประจำปีการศึกษา 2555 จะมีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมประมาณ 90 แห่ง รับในสาขาวิชาต่าง ๆ 900 สาขา จำนวนรับ ประมาณ 109,000 คน ส่วนรายละเอียดในการรับสมัครและยอดรับสมัครของแต่ละมหาวิทยาลัย ทางสมาคมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (สอท.) จะแถลงข่าวในวันที่ 4 เม.ย.55 เวลา 14.00 น. ที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า สำหรับปฎิทินแอดมมิชั่นกลาง ปี 2555 มีดังนี้ จำหน่ายหนังสือระเบียบการวันที่ 4-20 เม.ย. 55 ศูนย์กรุงเทพมหานคร ที่ ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน ,ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ,สอท. ,ศูนย์ภูมิภาค ม.ธรรมศาสตร์ ,ศูนย์รังสิต ม.ขอนแก่น ,ม.เชียงใหม่ ,ม.เทคโนโลยีสุรนารี ,ม.นครพนม ,ม.นเรศวร ,ม.บูรพา ,ม.พะเยา ,ม.มหาสารคาม ,ม.วลัยลักษณ์ ,ม.ศิลปากร ,วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ ,ม.สงขลานครินทร์ ,วิทยาเขตหาดใหญ่ และ ม.อุบลราชธานี อาจมีการปรับเปลี่ยนเพิ่มเติมหรือรับสมัครวันที่ 11-20 เม.ย.55 ทางเวบไซต์ สอท.www.cuas.or.th ชำระเงินค่าสมัครผ่านธนาคารหรือ ณ ที่ทำการไปรษณีย์ไทย วันที่ 11–24 เม.ย. 55
ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ทางเวบไซต์ www.cuas.or.th วันที่ 12–25 เม.ย.55 ยื่นคำร้องขอแก้ไขข้อมูลส่วนตัวทางโทรสารโทร. 0-2354-5155-6 วันที่ 12–27 เม.ย.55 ตรวจสอบคะแนนดิบที่ใช้ในการคัดเลือก และรายชื่อนักเรียนที่ถูกตัดสิทธิ์เข้าแอดมิชชั่นกลางทางเวบไซต์ www.cuas.or.th วันที่ 29–30 เม.ย. 55 ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์และตรวจร่างกาย ทางเวบไซต์ www.cuas.or.th วันที่ 9 พ.ค.55 สอบสัมภาษณ์และตรวจร่างกาย มหาวิทยาลัย/สถาบันอุดมศึกษาที่สอบได้วันที่ 14–16 พ.ค 55 ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาในแต่ละสถาบันทางเวบไซต์ www.cuas.or.th วันที่ 21 พ.ค. 55.
3.29.2555
กกอ.เร่งหาความจริง กรณี นศ.วิศวะ บางมด ขอใบประกอบวิชาชีพไม่ได้
รองเลขาธิการ กกอ.เผยมีข่าว นศ.วิศวะ มจธ.ขอใบประกอบวิชาชีพไม่ได้ ระบุขอเวลาตรวจสอบก่อนว่าจริงหรือไม่ หากจริงแล้วยังไม่ได้รับการช่วยเหลือ สกอ.จะเข้าไปดูแล พร้อมเล็งเชิญ 13 องค์กรวิชาชีพมาหารือเรื่องการรับรองอีกครั้ง
รศ.นพ.กำจร ตติยกวี รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา (รองเลขาธิการ กกอ.) เปิดเผยถึงคืบหน้าการจัดทำแนวปฏิบัติการดำเนินการหลักสูตรการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับองค์กรวิชาชีพ ว่า ภายหลังจากที่ได้มีการหารือกับสภาวิชาชีพทั้ง 13 องค์กร เพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาในเรื่องการรับรองหลักสูตรที่ต้องได้รับการรับรองจากสภาวิชาชีพ และสถาบันไปเมื่อเร็ว ๆ นี้นั้น สัปดาห์หน้าตนจะเชิญทั้ง 13 องค์กรมาสอบถามความคืบหน้าอีกครั้ง โดยเฉพาะปัญหาเรื่องการรับรองสถาบัน ว่าเป็นไปได้หรือไม่ที่จะเปลี่ยนมารับรองที่ผลผลิตหรือคุณภาพของบัณฑิตแทนการรับรองที่ตัวสถาบัน ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น เปิดโอกาสให้มีการวัดความรู้หรือประสบการณ์ของบัณฑิต หรือฝึกอบรมวิชีพนั้น ๆ ในสถานประกอบการก่อนไปสอบใบประกอบวิชาชีพ เป็นต้น เพื่อช่วยแก้ปัญหาให้กับนักศึกษาที่เรียนในสถาบันที่ไม่ได้รับการรับรองด้วย
“ที่ผ่านมายังคงมีปัญหาในเรื่องการรับรองของสภาวิชีพเพิ่มขึ้นอีก และล่าสุดเพิ่งทราบข่าวว่านักศึกษาที่จบจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ปีล่าสุด ก็มีปัญหาไม่สามารถขอใบประกอบวิชาชีพได้เช่นกัน ซึ่งจะต้องขอเวลาไปตรวจสอบข้อมูลก่อนว่าจริงหรือไม่ และมหาวิทยาลัยแก้ไขปัญหาหรือยัง หากยังไม่ได้แก้ไขสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) คงต้องเข้าไปดูแล เพื่อไม่ให้นักศึกษาได้รับความเดือดร้อน”
รองเลขาธิการ กกอ. กล่าวและว่า อย่างไรก็ตาม สำหรับสาขาอื่น ๆ ที่มีปัญหา เช่น คณะเภสัชศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยบูรพา ทราบว่าได้รับการรับรองจากสภาวิชาชีพแล้ว ขณะที่ปัญหาคณะเทคนิคการแพทย์ ของมหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (มบส.) ที่นักศึกษาได้ร้องเรียนผ่านเครือข่ายเครือข่ายเพื่อการพิทักษ์สิทธินิสิตนักศึกษาหรือ ยูไรท์ และได้มายื่นหนังสือนั้น กำลังอยู่ระหว่างการแก้ไขปัญหา
ด้าน นายศักรินทร์ ภูมิรัตน อธิการบดี มจธ. กล่าวว่า ตนยังไม่ทราบว่ามีปัญหานักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ไม่สามารถขอใบประกอบวิชาชีพได้ แต่เท่าที่ทราบนั้นคณะวิศวกรรมศาสตร์มีปัญหาการนัดหมายกับสภาวิชาชีพเล็กน้อย ซึ่งเชื่อว่าเป็นความเข้าใจผิดมากกว่า และไม่น่าจะมีปัญหาเกี่ยวกับการรับรอง แต่ขณะนี้ตนอยู่ระหว่างศึกษาดูงานที่ต่างประเทศ ซึ่งทันที่กลับไปจะตรวจสอบข้อมูลให้ชัดเจนอีกครั้ง
Credit http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9550000036887
บทเรียนคณิตศาสตร์ ม.ปลายทั้งหมด
เนื้อหา คณิตศาสตร์
ม.4 เทอม 1
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (
เลขหลัก )
บทที่ 1. เซต
1.
เซต
2.
เอกภพสัมพัทธ์
3.
สับเซตและเพาเวอร์เซต
4.
ยูเนียน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต
บทที่ 2. การให้เหตุผล
1.
การให้เหตุผลแบบอุปนัย
2.
การให้เหตุผลแบบนิรนัย
บทที่ 3. จำนวนจริง
1.
จำนวนจริง
2.
สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
การเท่ากันในระบบจำนวน
การบวกและการคูณในระบบจำนวนจริง
3.
การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว
4.
การไม่เท่ากัน
5.
ค่าสัมบรูณ์ของจำนวนจริง
บทที่ 4. เลขยกกำลัง
1.
รากที่ n ของจำนวนจริง
2.
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกะ
คณิตศาสตร์เสริม (
เลขเสริม )
บทที่ 1. ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
1.
ประพจน์
2.
การเชื่อมประพจน์
3.
การหาค่าความจริงของประพจน์
4.
การสร้างตารางค่าความจริง
5.
รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน
6.
สัจนิรันดร์
7.
การอ้างเหตุผล
8.
ประโยคเปิด
9.
ตัวบ่งปริมาณ
10.
ค่าความจริงของประโยคทีมีตัวบ่งปริมาณตัวเดียว
11.
สมมูลและนิเสธของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ
12.
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณสองตัว
บทที่ 2. ระบบจำนวนจริง
1.
จำนวนจริง
2.
สมบัติของระบบจำนวนจริง
3.
การแก้สมการพหุนามตัวแปรเดียว
4.
สมบัติของการไม่เท่ากัน
5.
ช่วงและการแก้อสมการ
6.
ค่าสัมบรูณ์
7.
การแก้สมการและอสมการในรูปค่าสัมบรูณ์
บทที่ 3. ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
1.
การหารลงตัว
2.
ขั้นตอนวิธีการหาร
3.
ตัวหารร่วมมาก
4.
ตัวคูณร่วมน้อย
เนื้อหา
คณิตศาสตร์ ม.4 เทอม 2
คณิตศาสตร์พื้นฐาน
( เลขหลัก )
บทที่
1. ฟังก์ชัน
1. ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์
โดเมนและเรนจ์
ฟังก์ชัน
2. ฟังก์ชันเชิงเส้น
3. ฟังก์ชันกำลังสอง
กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง
การนำกราฟไปใช้ในการแก้สมการและอสมการ
การแก้ปัญหาโดยใช้ความรุ้เรื่องฟังก์ชันกำลังสองและกราฟ
4. ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
5. ฟังก์ชันค่าสมบรูณ์
6. ฟังก์ชันขั้นบันได
บทที่
2. อัตราส่วนตรีโกณมิติ
1. อัตราส่วนตรีโกณมิติ
2. การประยุกต์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
คณิตศาสตร์เสริม
(เลขเสริม)
บทที่
1. ระบบสมการเชิงเส้น+เมทริกซ์
1. ระบบสมการเชิงเส้น
2. เมทริกซ์
3. ตัวผกผันการคุณของเมทริกซ์
4. การหาตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
5. การใช้เมทริกซ์แก้ระบบสมการเชิงเส้น
บทที่
2. ฟังก์ชัน
1. ความสัมพันธ์
ผลคูณคาร์ทีเซียน
ความสัมพันธ์
โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
2. ตัวผกผันของความสัมพันธ์
3. ฟังก์ชัน
ความหมายของฟังก์ชัน
การดำเนินการของฟังก์ชัน
ฟังก์ชันผกผัน
เทคนิคการเขียนกราฟ
บทที่
3. เรขาคณิตวิเคราะห์
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
ระยะทางระหว่างจุดสองจุด
จุดกึ่งกลางระหว่างจุดสองจุด
ความชันของเส้นตรง
เส้นขนาน
เส้นตั้งฉาก
ความสัมพันธ์ซึ่งมีกราฟเป็นเส้นตรง
ระยะห่างระหว่างเส้นตรงกับจุด
2. ภาคตัดกรวย
วงกลม
วงรี
พาราโบลาโบลา
ไฮเพอร์โบลา
การเลื่อนกราฟ
เนื้อหาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ม.5 ( เลขหลัก )
เนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.5 เทอม
1
บทที่ 1. ลำดับและอนุกรม
1.
ลำดับ
ความหมายของลำดับ
การหาพจน์ทั่วไปของลำดับ
ลำดับเลขคณิต
ลำดับเรขาคณิต
2.
อนุกรม
3.
อนุกรมเลขคณิต
4.
อนุกรมเรขาคณิต
บทที่ 2. ความน่าจะเป็น
1.
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
2.
ความน่าจะเป็น
การทดลองสุ่ม
ความน่าจะเป็น
บทที่ 3. เวกเตอร์ในสามมิติ
1.
ระบบพิกัดฉากสามมิติ
2.
เวกเตอร์
3.
เวกเตอร์ในระบบพิกัดฉาก
4.
ผลคูณเชิงสเกลาร์
5.
ผลคูณเชิงเวกเตอร์
คณิตศาสตร์เสริม (
เลขเสริม )
บทที่ 1. ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
1.
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
2.
รากที่ n ในระบบจำนวนจริงและจำนวน
จริงในรูปกรณฑ์
3.
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ
4.
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
5.
ฟังก์ชันลอการิทึม
6.
การหาค่าลอกาลิทึม
7.
การเปลี่ยนฐานของลอกาลิทึม
8.
สมการเอกซ์โพเนนเชียลและสมการลอกาลิทึม
9.
การประยุกต์ของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล และฟังก์ชันลอกาลิทึม
บทที่ 2. ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
1.
ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
2.
ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
3.
ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ
4.
ฟังก์ชันตรีโกณของมุม
5.
การใช้ตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
6.
กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
7.
ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่างของจำนวนจริงหรือมุม
8.
ตัวผกผันของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
9.
เอกลักษณ์และสมการตรีโกณมิติ
10.
กฎของโคไซน์และไซน์
11.
การหาระยะทางและความสูง
เนื้อหา
คณิตศาสตร์ ม.5 เทอม 2
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (
เลขหลัก )
บทที่ 1. สถิติและข้อมูล
1.
ตัวอย่างของกรณีหรือปัญหาที่ต้องใช้สถิติ
2.
ความหมายของสถิติ
3.
สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน
4.
ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล
บทที่ 2. การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
1.
การแจกแจงข้อมูลความถี่
การแจกแจงความถี่สะสม
การแจกแจงความถี่สัมพัทธ์
การแจกแจงความถี่สะสัมสัมพัทธ์
2.
การแจกแจงความถี่โดยใช้กราฟ
ฮิสโทแกรม
แผนภาพต้น ใบ
3.
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูล
เปอร์เซ็นไทล์
การหาเปอร์เซนไทล์ของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่
4.
การวัดค่ากลางของข้อมูล
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้ำหนัก
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม
การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตข้อมูลที่แจกแจงความถี่
มัธยฐาน
ฐานนิยม
ข้อสังเกตและหลักเกณฑ์ที่สำคัญในการใช้ค่ากลางชนิดต่าง ๆ
5.
การวัดการกระจายของข้อมูล
พิสัย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ความสัมพันธ์ระหว่างการแจกแจงความถี่, ค่ากลางและการกระจายของข้อมูล
คณิตศาสตร์เสริม ( เลขเสริม
)
บทที่ 1. จำนวนเชิงซ้อน
1.
การสร้างจำนวนเชิงซ้อน
2.
สมบัติเชิงพีชคณิตของจำนวนเชิงซ้อน
3.
รากที่สองของจำนวนเชิงซ้อน
4.
กราฟและค่าสัมบรูณ์ของจำนวนเชิงซ้อน
5.
จำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว
6.
รากที่ n ของจำนวนเชิงซ้อน
7.
สมการพหุนาม
บทที่ 2. ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
1.
กราฟ
2.
ดีกรีของจุดยอด
3.
แนวเดิน
4.
กราฟออยเลอร์
5.
การประยุกต์ของกราฟ
บทที่ 3. ความน่าจะเป็น
1.
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
2.
วิธีเรียงสับเปลี่ยน
3.
วิธีจัดหมู่
4.
ทฤษฎีบททวินาม
5.
ความน่าจะเป็นและกฎที่สำคัญบางประการของความน่าจะเป็น
บทที่ 3. การสำรวจความคิดเห็น
1.
วิธีสำรวจความคิดเห็น
ขอบเขตของการสำรวจ
วิธีเลือกตัวอย่าง
การสร้างแบบสำรวจความคิดเห็น
การประมวลผลและวิเคราะห์คึวามคิดเห็น
2.
ตัวอย่างเรื่องที่เคยมีการสำรวจความคิดเห็นจากหน่วยงานต่างๆ
3.
การนำผลการสำรวจความคิดเห็นไปใช้ประโยชน์
เนื้อหา
คณิตศาสตร์ ม.6 เทอม1
คณิตศาสตร์เสริม
(เลขเสริม)
บทที่ 1. การวิเคระห์ข้อมูลเบื้องต้น
1.
การวัดค่ากลางของข้อมูล
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
มัธยฐาน
ฐานนิยม
ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต
2.
การวัดตำแหน่งที่หรือตำแหน่งสัมพัทธ์ของข้อมูล
3.
การวัดค่าการกระจ่ายของข้อมูล
การวัดค่าการกระจ่ายสัมบูรณ์
การวัดค่าการกระจายสัมพัทธ์
ความสัมพันธ์ระหว่างการแจกแจงความถี่ค่ากลาง และ
การกระจายของข้อมูล
บทที่ 2. การแจกแจงปกติ
1.
ค่ามาตรฐาน
2.
การแจกแจงปกติและเส้นโค้งปกติ
บทที่ 3. ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
1.
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
2.
แผนภาพการกระจาย
3.
การประมาณค่าของค่าคงตัวโดยใช้วิธีกำลังสองน้อยสุด
4.
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา
เนื้อหา
คณิตศาสตร์ ม.6 เทอม2
คณิตศาสตร์เสริม
(เลขเสริม)
บทที่ 1. ลำดับอนันต์และอนุกรมอนันต์
1.
ลำดับอนันต์
ความหมายของลำดับ
รูปแบบการกำหนดลำดับ
ลำดับเลขคณิต
ลำดับเรขาคณิต
ลิมิตของลำดับ
2.
อนุกรมอนันต์
ผลบวกของอนุกรมอนันต์
สัญลักษณ์แทนการบวก
บทที่ 2. แคลคูลัสเบื้องต้น
1.
ลิมิตของฟังก์ชัน
2.
ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
3.
ความชันของเส้นโค้ง
4.
อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
5.
การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิตโดยใช้สูตร
6.
อนุพันธ์ของฟังก์ชันประกอบ
7.
อนุพันธ์อันดับสูง
8.
การประยุกต์ของอนุพันธ์
9.
ปฎิยานุพันธ์
10.
ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
11.ปริพันธ์จำกัดเขต
12.
พื้นที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง
บทที่ 3. กำหนดการเชิงเส้น
1.
กราฟของอสมการเชิงเส้น
2.
กราฟของระบบอสมการเชิงเส้น
3. การแก้ปัญหากำหนดการเชิงเส้นโดยวิธีใช้กราฟ
เนื้อหา
คณิตศาสตร์ ม.6 เทอม2
คณิตศาสตร์เสริม
(เลขเสริม)
บทที่ 1. ลำดับอนันต์และอนุกรมอนันต์
1.
ลำดับอนันต์
ความหมายของลำดับ
รูปแบบการกำหนดลำดับ
ลำดับเลขคณิต
ลำดับเรขาคณิต
ลิมิตของลำดับ
2.
อนุกรมอนันต์
ผลบวกของอนุกรมอนันต์
สัญลักษณ์แทนการบวก
บทที่ 2. แคลคูลัสเบื้องต้น
1.
ลิมิตของฟังก์ชัน
2.
ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
3.
ความชันของเส้นโค้ง
4.
อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
5.
การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิตโดยใช้สูตร
6.
อนุพันธ์ของฟังก์ชันประกอบ
7.
อนุพันธ์อันดับสูง
8.
การประยุกต์ของอนุพันธ์
9.
ปฎิยานุพันธ์
10.
ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
11.ปริพันธ์จำกัดเขต
12.
พื้นที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง
บทที่ 3. กำหนดการเชิงเส้น
1.
กราฟของอสมการเชิงเส้น
2.
กราฟของระบบอสมการเชิงเส้น
3. การแก้ปัญหากำหนดการเชิงเส้นโดยวิธีใช้กราฟ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)